หลักสูตรความรู้เบื้องต้นในการประกอบธุรกิจส่งออก
รายละเอียดหลักสูตร

ปัจจุบันธุรกิจการส่งออกกำลังเฟื่องฟูเป็นที่นิยมกันอย่างมากไม่ว่าจะเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจในธุรกิจระหว่างประเทศ ในการส่งออกสินค้าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและประกาศที่กรมศุลกากรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ให้ ทำให้ผู้ส่งออกที่ยังไม่ทราบถึงข้อมูลเหล่านี้เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย หลักสูตรนี้จะมาช่วยเพิ่มศักยภาพองค์ความรู้ในการต่อยอดการส่งออกให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นให้แก่ผู้ส่งออกมือใหม่หรือผู้ที่เคยส่งออกแล้ว



วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่สามารถนำไปพัฒนาสินค้าและบริการของตน
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการม่ีความรู้ในการทำการค้าระหว่างประเทศภายใต้เศรษฐกิจยุคใหม่
3. เพื่อให้ผู้ประกอบการในทุกภาคส่วนเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการค้าระหว่างประเทศ



ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ประกอบการได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของตนเองให้เกิดประโยชน์สูงสุดในอนาคต



บทเรียน

บทที่ 1 การเตรียมความพร้อมธุรกิจ
โดย ดร.นพปฎล สุวรรณทรัพย์
รักษาการ ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต

บทที่ 2 การสร้างโมเดลธุรกิจสำหรับการส่งออกโดยใช้ Design Thinking
โดย ดร.ปิยภรณ์ ชูชีพ
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปิยภรณ์ กรุ๊ป จำกัด (บริษัทที่ปรึกษา)

บทที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก

โดย คุณจิรชัย ตั้งกิจงามวงศ์
กรรมการผู้จัดการ บริษัท อุตสาหกรรมดีสวัสดิ์ จำกัด

บทที่ 4 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับการส่งออก
โดย คุณนนท์ปกรณ์ เธียไพรัตน์
เลขาธิการสมาคมการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทย และ Executive Creative Director
บริษัท Prompt Partners(พร้อมพ์ พาร์ทเนอร์) บริษัทในเครือ Prompt Design

บทที่ 5 สิทธิประโยชน์ด้านภาษีและพิธีศุลกากร
โดย คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ
ผู้อำนวยการศูนย์บริการศุลกากร กรมศุลกากร

บทที่ 6 เอกสารและการเงินเพื่อธุรกิจระหว่างประเทศ
โดย ดร.พัชราภรณ์ จีนะวิจารณะ
ที่ปรึกษาฝ่ายปฏิบัติการธุรกิจต่างประเทศ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

บทที่ 7 การคำนวณต้นทุนเพื่อการส่งออก
โดย คุณพรชัย พัวพัฒนขจร
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟรุ๊ด ออร์แกนิก จำกัด

บทที่ 8 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าระหว่างประเทศ
โดย คุณณัฏฐยศ สุริยเสนีย์
หัวหน้าสาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

บทที่ 9 ทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อการส่งออก
โดย คุณวีระเวช อรธนาลัย
กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินเทลเล็คชวล ดีไซน์ กรุ๊ป จำกัด

บทที่ 10 ขั้นตอนการดำเนินธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และระบบโลจิสติกส์
โดย ดร.ศรีสลา ภวมัยกุล
กรรมการบริหารสายซัพพลายเชน บริษัท สยามอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร จำกัด (มหาชน)

บทที่ 11 ข้อควรระวังในการส่งออก
โดย ดร.ณรงค์ ศรีเกรียงทอง
รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท โมเดิร์น คาส อินเตอร์เนชั่นแนล คอสเมติกส์ จำกัด
 
ประเภท : e-Learning
จำนวนเปิดรับ : ไม่จำกัด
วันที่จัดกิจกรรม : 28 ธ.ค. 2563 เวลา 00:00 น. - 31 ธ.ค. 2576 เวลา 00:00 น.
วันที่รับสมัคร : 28 ธ.ค. 2563 เวลา 00:00 น. - 31 ธ.ค. 2576 เวลา 00:00 น.
จัดผ่านระบบออนไลน์
ข้อมูลรายละเอียด
รายละเอียดหลักสูตร ปัจจุบันธุรกิจการส่งออกกำลังเฟื่องฟูเป็นที่นิยมกันอย่างมากไม่ว่าจะเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สนใจในธุรกิจระหว่างประเทศ ในการส่งออกสินค้าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและประกาศที่กรมศุลกากรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ให้ ทำให้ผู้ส่งออกที่ยังไม่ทราบถึงข้อมูลเหล่านี้เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย หลักสูตรนี้จะมาช่วยเพิ่มศักยภาพองค์ความรู้ในการต่อยอดการส่งออกให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นให้แก่ผู้ส่งออกมือใหม่หรือผู้ที่เคยส่งออกแล้ว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่สามารถนำไปพัฒนาสินค้าและบริการของตน 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการม่ีความรู้ในการทำการค้าระหว่างประเทศภายใต้เศรษฐกิจยุคใหม่ 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการในทุกภาคส่วนเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ประกอบการได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของตนเองให้เกิดประโยชน์สูงสุดในอนาคต บทเรียน บทที่ 1 การเตรียมความพร้อมธุรกิจ โดย ดร.นพปฎล สุวรรณทรัพย์ รักษาการ ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต บทที่ 2 การสร้างโมเดลธุรกิจสำหรับการส่งออกโดยใช้ Design Thinking โดย ดร.ปิยภรณ์ ชูชีพ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปิยภรณ์ กรุ๊ป จำกัด (บริษัทที่ปรึกษา) บทที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก โดย คุณจิรชัย ตั้งกิจงามวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อุตสาหกรรมดีสวัสดิ์ จำกัด บทที่ 4 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับการส่งออก โดย คุณนนท์ปกรณ์ เธียไพรัตน์ เลขาธิการสมาคมการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทย และ Executive Creative Director บริษัท Prompt Partners(พร้อมพ์ พาร์ทเนอร์) บริษัทในเครือ Prompt Design บทที่ 5 สิทธิประโยชน์ด้านภาษีและพิธีศุลกากร โดย คุณศุทธิกานต์ กริชไกรวรรณ ผู้อำนวยการศูนย์บริการศุลกากร กรมศุลกากร บทที่ 6 เอกสารและการเงินเพื่อธุรกิจระหว่างประเทศ โดย ดร.พัชราภรณ์ จีนะวิจารณะ ที่ปรึกษาฝ่ายปฏิบัติการธุรกิจต่างประเทศ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) บทที่ 7 การคำนวณต้นทุนเพื่อการส่งออก โดย คุณพรชัย พัวพัฒนขจร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟรุ๊ด ออร์แกนิก จำกัด บทที่ 8 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าระหว่างประเทศ โดย คุณณัฏฐยศ สุริยเสนีย์ หัวหน้าสาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทที่ 9 ทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อการส่งออก โดย คุณวีระเวช อรธนาลัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินเทลเล็คชวล ดีไซน์ กรุ๊ป จำกัด บทที่ 10 ขั้นตอนการดำเนินธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และระบบโลจิสติกส์ โดย ดร.ศรีสลา ภวมัยกุล กรรมการบริหารสายซัพพลายเชน บริษัท สยามอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร จำกัด (มหาชน) บทที่ 11 ข้อควรระวังในการส่งออก โดย ดร.ณรงค์ ศรีเกรียงทอง รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท โมเดิร์น คาส อินเตอร์เนชั่นแนล คอสเมติกส์ จำกัด

วันที่จัดกิจกรรม และ เงื่อนไขการเข้าร่วมกิจกรรม
การรับสมัคร Online
เปิดให้มีการรับสมัคร Online
วันที่รับสมัคร (เริ่มต้น - สิ้นสุด)
28 ธ.ค. 2563 เวลา 00:00 น. - 31 ธ.ค. 2576 เวลา 00:00 น.
วันที่จัดกิจกรรม (เริ่มต้น - สิ้นสุด)
28 ธ.ค. 2563 เวลา 00:00 น. - 31 ธ.ค. 2576 เวลา 00:00 น.
ประเภทผู้เข้าร่วม
จำกัดประเภทผู้เข้าร่วม

ข้อมูลสถานที่จัดงาน
เป็นกิจกรรม Online :
ข้อมูลการติดต่อ และ ผู้รับผิดชอบ
TAG